ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โรนัลด์ รอสส์

เซอร์โรนัลด์ รอสส์ KCB (Sir Ronald Ross; 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1857 – 16 กันยายน ค.ศ. 1932) เป็นแพทย์ชาวอังกฤษ-อินเดีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์เมื่อปี ค.ศ. 1902 เนื่องจากการค้นพบวงจรชีวิตของปรสิตโรคมาลาเรีย พลาสโมเดียม (Plasmodium)

โรนัลด์ รอสส์ เกิดที่อัลมอรา อินเดีย เขาเป็นบุตรชายคนโตของพลเอก เซอร์แคมป์เบลล์ เคลย์ แกรนท์ รอสส์ (General Sir Campbell Claye Grant Ross) แห่งกองทัพบริติชอินเดีย และมาธิลดา ชาร์ล็อตต์ เอลเดอร์ตัน (Matilda Charlotte Elderton) ปู่ของรอสส์คือพันโทฮิวจ์ รอสส์ (Lieutenant Colonel Hugh Ross)

เมื่อรอสส์อายุได้ 8 ปี เขาถูกส่งไปศึกษาที่อังกฤษ หลังจากสำเร็จการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเล็กๆ 2 แห่งในเมืองไรด์ เขาถูกส่งไปยังโรงเรียนประจำที่สปริงฮิลล์ ใกล้กับเมืองเซาท์แธมป์ตันในปี ค.ศ. 1869

รอสส์สำเร็จการศึกษาด้านแพทยศาสตร์จากโรงพยาบาลเซนต์บาร์โธโลมิวในลอนดอนเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 เขาผ่านการสอบไล่ใน ค.ศ. 1880 และได้เป็นสมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ (MRCS) และ Worshipful Society of Apothecaries (LSA) เขาได้เข้าร่วมหน่วย Indian Medical Service ซึ่งเป็นหน่วยในหน่วยแพทย์ทหารของบริติชอินเดียใน ค.ศ. 1881 โดยรับตำแหน่งแรกที่มัทราส

รอสส์ศึกษาเกี่ยวกับมาลาเรียระหว่าง ค.ศ. 1881 และ 1899 เขาทำงานด้านมาลาเรียในกัลกัตตาที่โรงพยาบาล Presidency General Hospital ที่ซึ่งเขามีผู้ช่วยเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดียชื่อ Kishori Mohan Bandyopadhyay ในปี ค.ศ. 1883 รอสส์รับตำแหน่งเป็นศัลยแพทย์กองทหารรักษาการณ์ (Acting Garrison Surgeon) ที่บังคาลอร์ที่ซึ่งเขาค้นพบการควบคุมยุงโดยป้องกันไม่ให้ยุงเข้าถึงแหล่งน้ำ

ใน ค.ศ. 1897 รอสส์ได้รับตำแหน่งที่ Ootacamund และป่วยด้วยโรคมาลาเรีย หลังจากนั้นเขาถูกย้ายไปโรงพยาบาลทหารที่ Secunderabad เขาได้ค้นพบเชื้อมาลาเรียภายในยุงก้นปล่อง เขาเรียกชื่อเชื้อในตอนแรกว่า ปีกเป็นจุดด่าง (dapple-wings) และจากสมมติฐานของเซอร์แพทริก แมนสัน (Sir Patrick Manson) ที่ว่าสารก่อโรคมาลาเรียนั่นมีในยุงซึ่งเป็นพาหะ เขาจึงสามารถพบเชื้อมาลาเรียได้จากยุงที่กัดผู้ป่วยมาลาเรียชื่อว่า ฮุสเซน ข่าน (Hussain Khan) หลังจากนั้นเขาได้ศึกษานกที่ป่วยด้วยมาลาเรีย และสามารถสรุปวงชีวิตของเชื้อพลาสโมเดียม ปรสิตโรคมาลาเรียได้อย่างสมบูรณ์ รวมทั้งค้นพบเชื้อในต่อมน้ำลายยุง เขาได้แสดงให้เห็นว่าโรคมาลาเรียสามารถติดต่อจากนกที่ป่วยไปยังนกปกติอีกตัวโดยยุงเป็นพาหะ การค้นพบนี้ทำให้สามารถสรุปกลไกการเกิดโรคในมนุษย์ได้

ในปี ค.ศ. 1902 รอสส์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์สำหรับการศึกษาด้านมาลาเรีย ส่วนผู้ช่วยชาวอินเดียของเขา Kishori Mohan Bandyopadhyay ได้รับเหรียญทองจากกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

ในปี ค.ศ. 1899 รอสส์ได้กลับไปยังอังกฤษและทำงานที่โรงเรียนเวชศาสตร์เขตร้อนแห่งลิเวอร์พูล (Liverpool School of Tropical Medicine) ในตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านเวชศาสตร์เขตร้อน ค.ศ. 1901 รอสส์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งอังกฤษ เป็นสมาชิกราชสมาคมซึ่งเขาดำรงตำแหน่งรองประธานตั้งแต่ ค.ศ. 1911 ถึง 1913 รอสส์ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Most Honourable Order of Bath จากสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ในปี ค.ศ. 1902 และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น Knight Commander of Order of Bath ในปี ค.ศ. 1911

รอสส์ได้อุทิศตนทำงานเพื่อป้องกันโรคมาลาเรียในหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็นแอฟริกาตะวันตก, บริเวณคลองสุเอซ, กรีซ, มอริเชียส, ไซปรัส และบริเวณรับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เขาได้ตั้งองค์กรเพื่อป้องกันโรคมาลาเรียภายในโรงงานอุตสาหกรรมในอินเดียและศรีลังกา เขาได้อุทิศตนเพื่อศึกษาระบาดวิทยาของมาลาเรียและวิธีการสำรวจและประเมิน แต่ผลงานสำคัญของเขาคือการพัฒนาตัวแบบทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ศึกษาระบาดวิทยา โดยรายงานครั้งแรกที่มอริเชียสในปี ค.ศ. 1908 ซึ่งตัวแบบนี้ช่วยป้องกันโรคมาลาเรียที่มอริเชียสในปี ค.ศ. 1911 และต่อมาได้นำไปใช้ทั่วไปในรายงานซึ่งตีพิมพ์โดยราชสมาคมในปี ค.ศ. 1915 และ 1916


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406